ลำดับ 51. Christmas in Wonderland 2023
เผยแพร่เมื่อ 20-12-2023 ผู้ชม 8,524,250 Share
ขอเชิญนักศึกษาโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษทุกชั้นปี ร่วมกิจกรรม Christmas in Wonderland 2023 ในวันที่ 25 ธันวาคม 2566 เวลา 08.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมครุร่มสัก 1 ชั้น 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการเรียนรู้วัฒธรรม การเฉลิมฉลองทั้งการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การฝึกฝนทักษะทางภาษาอังกฤษ โดยมีกิจกรรมการแสดงละครเวที และเข้าร่วมกิจกรรมมแข่งขัน และกิจกรรมอื่นๆ อีกมากมายและร่วมลุ้นรางวัลมากมาย ตลอดจนกิจกรรมแลกเปลี่ยนของขวัญอันเนื่องในวันคริสมาสและดิถีขึ้นปีใหม่ไทยพร้อมกันนี้ด้วย
ลำดับ 52. ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 6 นวัตกรรมราชภัฏสู่การพัฒนาวัตกรรมเพื่อท้องถิ่นที่ยั้งยืน
เผยแพร่เมื่อ 13-12-2023 ผู้ชม 9,632,571 Share
ขอเชิญคณาจารย์และนักศึกษาร่วมส่งผลงานวิจัย ในงาน "การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ" โดยสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหาการศึกษาแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ "ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 6 นวัตกรรมราชภัฏสู่การพัฒนาวัตกรรมเพื่อท้องถิ่นที่ยั้งยืน" 19 กุมภาพันธ์ 2567 รายละเอียด คลิก
ลำดับ 53. กิจกรรมนิเทศคุณลักษณะ 2-66 (12 ธ.ค.66)
เผยแพร่เมื่อ 13-12-2023 ผู้ชม 852,677 Share
วันที่ 12 ธันวาคม 2566 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถิรวิท ไพรมหานิยม โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ และ ดร. มนตรี หลินภู โปรแกรมวิชาประถมศึกษา ได้ออกนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนในสถานศึกษา (ฝึกสอน) ด้านคุณลักษณะ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ในการนี้ได้รับการต้อนรับจากผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง และได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตอันพึงประสงค์ต่อไป
ลำดับ 54. MOU Gotoco
เผยแพร่เมื่อ 13-11-2023 ผู้ชม 741,620 Share
ลำดับ 55. Cultural Exchange Camp 2023
เผยแพร่เมื่อ 16-10-2023 ผู้ชม 964,240 Share
วันที่ 9-13 ตุลาคม 2566 โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษร่วมกับ GOTOCO ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระ จากประเทศอังกฤษ ได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและกลวิธีการสอนภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (Teaching English as a Foreign Language : TEFL) ซึ่งได้รับการแนะนำและประสานงานโดยอาจารย์คณึงนิตย์ เพียวพาณิช ทั้งนี้มีนักศึกษาโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษชั้นปีที่ 1-3 ได้เข้าร่วมกิจกรรม ในการนี้ทางคณะครุศาสตร์ ได้ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) กับ GOTOCO เพื่อแลกเปลี่ยนบุคลากรในการจัดเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษจากเจ้าของภาษาให้กับนักศึกษาคณะครุศาสตร์อีกด้วย
ลำดับ 56. The Butterfly Effect
เผยแพร่เมื่อ 01-10-2023 ผู้ชม 741,599 Share
The Butterfly Effect: An Exploration of Chaos and Complexity
Introduction
The concept of the "Butterfly Effect," originally introduced by mathematician and meteorologist Edward Lorenz in the 1960s, has captivated the imaginations of scientists, scholars, and the general public alike with its intriguing and far-reaching implications. This phenomenon, firmly grounded in chaos theory, reveals the profound notion that even the most minuscule alterations in initial conditions can ripple out to produce substantial and often unexpected outcomes. This concept, as detailed in Lorenz's seminal work from 1963 (p. 139), underscores its remarkable relevance across a multitude of fields and disciplines, showcasing its enduring significance in our understanding of complex systems and their behaviors. This essay has endeavored to provide a more in-depth and thorough examination of the Butterfly Effect with a clearer and more profound comprehension of its importance not only in the domain of science but also in its broader implications across various fields and aspects of life.
I. Chaos Theory and Its Foundational Principles
Chaos theory, a groundbreaking framework that emerged in the 20th century, presents a profound challenge to our traditional understanding of deterministic systems. At its core, chaos theory revolves around the concept of sensitivity to initial conditions and introduces the intriguing idea that complex systems may inherently possess an element of unpredictability (Gleick, 1987, p. 18). Central to the principles of chaos theory is the recognition that even the tiniest deviations in starting conditions can lead to dramatically divergent outcomes.
II. The Butterfly Effect in Natural Phenomena
The Butterfly Effect, a concept famously illustrated in the field of meteorology, was first brought to prominence by the pioneering work of Edward Lorenz. In a groundbreaking study published in 1963 (Lorenz, 1963, p. 141), Lorenz unveiled a captivating phenomenon that showcased how something as seemingly insignificant as the fluttering of a butterfly's wings in the vast Amazon rainforest could, over time, trigger a series of events leading to the formation of a powerful tornado in the distant state of Texas. This astonishing revelation serves as a profound testament to the intricate interconnectedness of elements within our natural world, highlighting the astonishing ripple effects that even the most minuscule disturbances can set into motion.
Lorenz's discovery reminds us that our planet's intricate web of systems and processes is delicately balanced, and it underscores the profound consequences that seemingly minor actions can have on the broader environment. It illuminates the idea that nature operates as a vast and interconnected tapestry, where every action, no matter how small, can reverberate across time and space, ultimately shaping the course of events. This profound insight offers a profound lesson in humility, as it encourages us to recognize the profound impact of our actions, no matter how seemingly insignificant they may appear, on the grand stage of our planet's dynamic and complex ecosystem.
III. Broad Applications Beyond Meteorology
Meteorology stands as a prime example of the Butterfly Effect, showcasing how small changes in initial conditions can lead to significant outcomes. This phenomenon, also known as sensitive dependence on initial conditions, extends its influence far beyond the field of weather forecasting. In the realm of economics, the Butterfly Effect illustrates how seemingly minor fluctuations in market conditions can trigger a chain reaction of events, ultimately resulting in profound global economic consequences. For instance, as demonstrated by Sornette in 2003, even a seemingly insignificant market shift can escalate into a financial crisis with far-reaching implications (p. 56).
Moreover, the Butterfly Effect has a prominent presence in the social sciences, where it underscores the idea that individual actions can indeed shape the course of history. One of the most iconic examples is the act of Rosa Parks, who refused to yield her bus seat in Montgomery, Alabama, in 1955. This seemingly small act of defiance ignited the Montgomery Bus Boycott, a pivotal event in the Civil Rights Movement. As chronicled by Branch in 1988, Rosa Parks' refusal to conform had a domino effect, inspiring countless others to stand up against racial injustice and catalyzing transformative changes in society (p. 68). Thus, whether in the world of meteorology, economics, or the social sciences, the Butterfly Effect underscores the profound impact that seemingly insignificant actions or events can have on the broader landscape, making it a concept of utmost significance and relevance across various disciplines.
IV. Complexities, Critiques, and Controversies
The Butterfly Effect, with its fascinating implications, has not been immune to critical examination. Detractors contend that it oversimplifies the intricate workings of complex systems, and skeptics raise concerns about the feasibility of tracing causality through seemingly minuscule disruptions (Gleick, 1987, p. 142). Moreover, the term itself has faced scrutiny due to its widespread adoption and occasional misappropriation in popular culture.
However, it is essential to acknowledge that the Butterfly Effect remains a concept of considerable significance in various scientific disciplines. Despite the criticisms, its core idea—that small initial changes can lead to significant and unforeseen consequences in complex systems—has been a catalyst for valuable research and understanding in fields such as chaos theory and meteorology. Furthermore, proponents of the concept argue that while it may not capture the full complexity of real-world systems, it serves as a useful model for contemplating the interconnectedness of events and highlighting the potential for amplification of small perturbations, offering valuable insights even if not a complete representation of reality. Thus, the Butterfly Effect, despite its critics, continues to be a subject of profound interest and discussion in both scientific and popular contexts.
V. Contemporary Relevance and Future Prospects
In an increasingly interconnected world, where the influence of small actions is magnified by the immense power of technology, the concept of the Butterfly Effect holds significant importance. This enduring idea continues to resonate strongly in our modern era. As we embark on a journey to comprehend intricate systems, the field of chaos theory emerges as a vital source of knowledge, offering invaluable insights across a diverse spectrum of domains. These range from its applications in climate change modeling, where we seek to fathom the complex forces shaping our planet's future, to the intricate dynamics of financial markets, where understanding the ripple effects of seemingly insignificant events can mean the difference between success and failure. Additionally, chaos theory extends its relevance to our digital age, unraveling the mysteries of how information spreads within the vast web of social media networks, helping us decipher the intricate dance of data and communication in the digital realm.
In essence, the Butterfly Effect and chaos theory illuminate the profound interplay between cause and consequence, highlighting the idea that even the tiniest actions can trigger far-reaching effects in our intricately connected world. This concept is particularly crucial in the context of environmental stewardship, where our choices as individuals and societies can have a cascading impact on the delicate balance of ecosystems. It underscores the urgency of adopting sustainable practices and responsible decision-making as we grapple with the pressing issue of climate change. Likewise, in the realm of finance, recognizing the butterfly-like flutter that can send shockwaves through global markets underscores the importance of vigilance and informed decision-making in an era where financial stability is paramount. Finally, in the age of digital communication, understanding the subtle perturbations that can lead to viral trends and societal shifts on social media platforms empowers us to navigate the digital landscape with greater awareness and responsibility. In sum, the Butterfly Effect and chaos theory continue to serve as beacons of insight, guiding our understanding of the intricate tapestry of our interconnected world.
Conclusion
The Butterfly Effect, which emerges from the intricate realms of chaos theory, reveals the fascinating and complex tapestry of causality that forms the foundation of our universe. This concept serves as a powerful reminder that our world is far more interconnected and constantly evolving than we typically realize. While it has faced criticism and encountered various challenges, the Butterfly Effect continues to captivate and stimulate thought across a wide array of academic fields and practical applications (Lorenz, 1963, p. 143). Its profound implications transcend disciplinary boundaries, making it an enduring subject of exploration and intrigue for scholars and enthusiasts alike, even as it demands a deeper understanding from those who seek to unravel its mysteries.
References:
Branch, T. (1988). Parting the Waters: America in the King Years 1954-63. New York: Simon & Schuster.
Gleick, J. (1987). Chaos: Making a new science. New York : Viking.
Sornette, D. (2003). Why Stock Markets Crash: Critical Events in Complex Financial Systems. Princeton University Press.
ลำดับ 57. นิเทศนักศึกษาฝึกสอนโรงเรียนประชาสันติภาพ (7ก.ย.66)
เผยแพร่เมื่อ 14-09-2023 ผู้ชม 259,860 Share
วันที่ 7 กันยายน 2566 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสิษฐ์ พันธ์กล่ำ ได้ออกติดตามการนิเทศนักศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้
ชื่องาน/กิจกรรม : นิเทศ
ประจำปีการศึกษา 1/2566
หน่วยงาน : ภาษาอังกฤษ
วันที่ เวลา และ สถานที่ : 7 กย 2566 รร ประชาสันติภาพ
วัตถุประสงค์/ลักษณะกิจกรรม : นิเทศวิชาการ
สอดคล้องกับ PLOs :
2. ประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัยอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
4. สร้างและออกแบบการจัดกิจกรรมหรือโครงการอบรมทางการศึกษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อบริการวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่น
5. มีความรับผิดชอบ และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู
6. มีภาวะผู้นำ ผู้ตาม ทำงานเป็นทีม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์และมีจิตสาธารณะ
7. สืบค้น ประเมินและสังเคราะห์แหล่งข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ในการแสวงหาความรู้ การวิจัยและการพัฒนาตนเอง
สมรรถนะตามชั้นปี : ปี 4 : นักศึกษามีความสามารถปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและพัฒนาตนเองและผู้เรียนผ่านการทำวิจัยในชั้นเรียนได้
ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
7. ทักษะการทำงานเป็นทีมและการมีมนุษยสัมพันธ์ (Team work and people skills)
8. ทักษะการวิจัย (Research skills)
9. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology skills)
สอดคล้องกับกิจกรรม/โครงการ : ในหลักสูตร
บูรณาการกับ : การเรียนการสอน
ลำดับ 58. นิเทศโรงเรียนเทพนคร (13 ก.ย.66)
เผยแพร่เมื่อ 14-09-2023 ผู้ชม 148,460 Share
วันที่ 13 กันยายน 2566 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสิษฐ์ พันธ์กล่ำ ได้ออกติดตามการนิเทศนักศึกษาฝึกสอน โดยมีรายละเอียดดังนี้
ชื่องาน/กิจกรรม : นิเทศ
ประจำปีการศึกษา: 1/2566
หน่วยงานที่จัด : อังกฤษ
วันที่ เวลา และ สถานที่ : 13 กย 66 รร บ้านเทพนคร
วัตถุประสงค์/ลักษณะกิจกรรม : นิเทศวิชาการ
สอดคล้องกับ PLOs :
1. ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีภาษาอังกฤษทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนในบริบทวัฒนธรรมสากลที่หลากหลาย
2. ประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัยอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
3. เข้าใจและประยุกต์องค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการอ่าน ตีความ แปล ในบริบทที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
4. สร้างและออกแบบการจัดกิจกรรมหรือโครงการอบรมทางการศึกษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อบริการวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่น
5. มีความรับผิดชอบ และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู
6. มีภาวะผู้นำ ผู้ตาม ทำงานเป็นทีม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์และมีจิตสาธารณะ
7. สืบค้น ประเมินและสังเคราะห์แหล่งข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ในการแสวงหาความรู้ การวิจัยและการพัฒนาตนเอง
สมรรถนะตามชั้นปี : ปี 4 : นักศึกษามีความสามารถปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและพัฒนาตนเองและผู้เรียนผ่านการทำวิจัยในชั้นเรียนได้
ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต :
2.ทักษะการคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ (Initiative and creative skills)
3. ทักษะการคิดคํานวณ (Numeracy skills)
5. ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information Literacy skills)
6. ทักษะการเรียนรู้ด้วยการนําตนเอง (Self-directed learning skills)
สอดคล้องกับกิจกรรม/โครงการ : ในหลักสูตร
บูรณาการกับ : การเรียนการสอน
ลำดับ 59. นิเทศโรงเรียนคณฑีพิทยา (13 ก.ย.66)
เผยแพร่เมื่อ 14-09-2023 ผู้ชม 36,988,082 Share
วันที่ 13 กันยายน 2566 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสิษฐ์ พันธ์กล่ำ ได้ออกติดตามการนิเทศนักศึกษาฝึกสอน โดยมีรายละเอียดดังนี้
ชื่องาน/กิจกรรม : นิเทศ
ประจำปีการศึกษา : 2566
หน่วยงานที่จัด : อังกฤษ
วันที่ เวลา และ สถานที่ : 13 ก.ย. 66 ร.ร. คณฑีพิทยาคม
วัตถุประสงค์/ลักษณะกิจกรรม : นิเทศวิชาการ
สรุปผลหรือองค์ความรู้ที่ได้จากกิจกรรม : นักศึกษามีผลการปฏิบัติการสอนที่ดี
สอดคล้องกับ PLOs :
1. ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีภาษาอังกฤษทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนในบริบทวัฒนธรรมสากลที่หลากหลาย
2. ประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัยอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
3. เข้าใจและประยุกต์องค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการอ่าน ตีความ แปล ในบริบทที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
4. สร้างและออกแบบการจัดกิจกรรมหรือโครงการอบรมทางการศึกษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อบริการวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่น
5. มีความรับผิดชอบ และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู
6. มีภาวะผู้นำ ผู้ตาม ทำงานเป็นทีม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์และมีจิตสาธารณะ
7. สืบค้น ประเมินและสังเคราะห์แหล่งข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ในการแสวงหาความรู้ การวิจัยและการพัฒนาตนเอง
สมรรถนะตามชั้นปี : ปี 4 : นักศึกษามีความสามารถปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและพัฒนาตนเองและผู้เรียนผ่านการทำวิจัยในชั้นเรียนได้
ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต :
1.ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการคิดเชิงวิพากย์ (Analysis, synthesis and critical thinking skills)
2.ทักษะการคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ (Initiative and creative skills)
3. ทักษะการคิดคํานวณ (Numeracy skills)
4.ทักษะการคิดแก้ปัญหา (Problem solving thinking skills)
5. ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information Literacy skills)
6. ทักษะการเรียนรู้ด้วยการนําตนเอง (Self-directed learning skills)
7. ทักษะการทํางานเป็นทีมและการมีมนุษยสัมพันธ์ (Team work and people skills)
8. ทักษะการวิจัย (Research skills), 9. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology skills)
10. ทักษะการสื่อสาร (Communication skills)
สอดคล้องกับกิจกรรม/โครงการ : ในหลักสูตร
บูรณาการกับ : การเรียนการสอน, การวิจัย
ลำดับ 60. นิเทศนักศึกษาฝึกสอน (31 สิงหาคม 66)
เผยแพร่เมื่อ 12-09-2023 ผู้ชม 2,355,634 Share
วันที่ 31 สิงหาคม 2566 อาจารย์คนึงนิตย์ เพรียวพานิช ได้ออกติดตามและนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครั้งที่ 2 ในภาคเรียนที่ 1/2566 ณ โรงเรียนอนุบาลกำแพงเพชร โรงเรียนบ้านโขมงหัก และโรงเรียนเทศบาล 1 (เกริกกฤติยาอุปถัมภ์) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร
วัตถุประสงค์ เพื่อนิเทศการปฏิบัติการฝึกสอนของนักศึกษา การส่งแผนฯ วิจัย และการทำงานร่วมกับครูพี่เลี้ยง
สรุปผล: นักศึกษาดำเนินงานตารางการนิเทศที่วางไว้ ครูพี่เลี้ยงให้ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นอย่างดี
สอดคล้องกับกิจกรรม : การนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์
สอดคล้องกับ PLOs :
2. ประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัยอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ,
4. สร้างและออกแบบการจัดกิจกรรมหรือโครงการอบรมทางการศึกษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อบริการวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่น,
5. มีความรับผิดชอบ และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู,
6. มีภาวะผู้นำ ผู้ตาม ทำงานเป็นทีม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์และมีจิตสาธารณะ
สมรรถนะตามชั้นปี :
ปี 4 : นักศึกษามีความสามารถปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและพัฒนาตนเองและผู้เรียนผ่านการทำวิจัยในชั้นเรียนได้
ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2.ทักษะการคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ (Initiative and creative skills),
4.ทักษะการคิดแก้ปัญหา (Problem solving thinking skills),
6. ทักษะการเรียนรู้ด้วยการนําตนเอง (Self-directed learning skills),
8. ทักษะการวิจัย (Research skills),
10. ทักษะการสื่อสาร (Communication skills)
สอดคล้องกับกิจกรรม : ในหลักสูตร
บูรณาการกับ : การเรียนการสอน, การวิจัย