ความสอดคล้องของพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวทฤษฎีผู้นำสัตว์ 4 ทิศ กับจริต 6 ในทางพระพุทธศาสนา
บทความวิชาการฉบับนี้คณะผู้เขียนมุ่งศึกษาความสอดคล้องของพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิดทฤษฎีผู้นำสัตว์ 4 ทิศ ได้แก่ กระทิง หนู อินทรีย์และหมี กับความประพฤติตามหลักจริต 6 ในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ ราคจริต (รักสนุก ติดเพลิดเพลิน) โทสจริต (หงุดหงิด โกรธเคือง) โมหจริต (ลุ่มหลง มัวเมา) สัทธาจริต (ศรัทธา เลื่อมใส) พุทธิจริต (ปัญญา ความรู้) และวิตกจริต (กังวล ฟุ้งซ่าน) โดยจัดประเภทพฤติกรรมมนุษย์ตามแต่ละลักษณะนิสัยที่ตรงกันส่วนใหญ่ซึ่งพบว่า กระทิงมีนิสัยสอดคล้องกับโทสจริต อินทรีย์มีนิสัยสอดคล้องกับพุทธิจริตผสมกับวิตกจริต หนูมีนิสัยสอดคล้องกับราคจริตกผสมกับโมหจริตและหมีมีนิสัยสอดคล้องกับสัทธาจริต ซึ่งผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บทความวิชาการนี้จะเป็นประโยชน์เพื่อใช้เป็นกรอบทำเข้าใจพฤติกรรมและลักษณะนิสัยของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี รวมถึงทราบแนวทางการพัฒนามนุษย์ตามลักษณะที่ต่างกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เหมาะสมส่งผลให้เกิดความงอกงามด้านบุคลิกภาพส่วนบุคคลต่อไป
คลิกอ่าน https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jbp/article/view/265954
ป.บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2566). ความสอดคล้องของพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวทฤษฎีผู้นำสัตว์ 4 ทิศ กับจริต 6 ในทางพระพุทธศาสนา. สืบค้น 22 พฤศจิกายน 2567, จาก https://edu.kpru.ac.th/gdtp/?lang=TH&page_id=9
ข้อมูลอื่น ๆ
แสดงความยินดีกับศิษย์เก่า ที่สอบผ่านเกณฑ์การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู รายวิชาครู ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2567
เผยแพร่เมื่อ 17 ตุลาคม 2567
กิจกรรมสัมมนาปลายภาคเรียนนักศึกษาออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู (ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1)
เผยแพร่เมื่อ 6 ตุลาคม 2567
การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์คุณภาพมหาวิทยาลัยเอเซียน (AUN-QA) ประจำปีการศึกษา 2566
เผยแพร่เมื่อ 14 สิงหาคม 2567
การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์คุณภาพมหาวิทยาลัยเอเซียน (AUN-QA) ประจำปีการศึกษา 2566 ระหว่างวันที่ 7 - 8 สิงหาคม 2567
เผยแพร่เมื่อ 17 กรกฎาคม 2567
ภาพกิจกรรมปัจฉิมนิเทศและฉลองความสำเร็จ นักศึกษา ป.บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู รุ่รรหัส 65
เผยแพร่เมื่อ 17 มีนาคม 2567