เศรษฐกิจพอเพียงศาสตร์แห่งการพัฒนา
บทความโดย มยุรี เสือคำราม ดร.สมศักดิ์ ลิลา
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนามนุษย์ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่มาจากกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งมีแนวคิดให้ประชาชนชาวไทยมีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันตัวที่ดีโดยอาศัยความรอบรู้และต้องมีคุณธรรม กำหนดให้คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ซึ่งมีแนวคิดที่สอดคล้องกับเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ที่มุ่งศึกษาการ
ลงทุนในคนให้กลายเป็นทุนมนุษย์ที่สามารถผลิตสินค้าและบริการได้เพิ่มขึ้นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยังลงทุนพัฒนาคนเพื่อเพิ่มทุนทางสังคม งานวิจัยของกันตยา มานะกุล (2550) พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีคะแนนจากการทำแบบทดสอบด้านการอ่านออกเขียนภาษาไทยได้ด้านการกินอาหารถูกต้องครบถ้วนและด้านครอบครัวมีความอบอุ่น
เพิ่มขึ้นร้อยละ81.0 ร้อยละ77.9 และร้อยละ79.4 ตามลำดับ กล่าวได้ว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นศาสตร์แห่งการพัฒนามนุษย์อย่างแท้จริง
คลิกอ่าน เศรษฐกิจพอเพียง: ศาสตร์แห่งการพัฒนา
ป.บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2566). เศรษฐกิจพอเพียงศาสตร์แห่งการพัฒนา. สืบค้น 23 พฤศจิกายน 2567, จาก https://edu.kpru.ac.th/gdtp/?lang=TH&page_id=52
ข้อมูลอื่น ๆ
แสดงความยินดีกับศิษย์เก่า ที่สอบผ่านเกณฑ์การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู รายวิชาครู ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2567
เผยแพร่เมื่อ 17 ตุลาคม 2567
กิจกรรมสัมมนาปลายภาคเรียนนักศึกษาออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู (ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1)
เผยแพร่เมื่อ 6 ตุลาคม 2567
การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์คุณภาพมหาวิทยาลัยเอเซียน (AUN-QA) ประจำปีการศึกษา 2566
เผยแพร่เมื่อ 14 สิงหาคม 2567
การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์คุณภาพมหาวิทยาลัยเอเซียน (AUN-QA) ประจำปีการศึกษา 2566 ระหว่างวันที่ 7 - 8 สิงหาคม 2567
เผยแพร่เมื่อ 17 กรกฎาคม 2567
ภาพกิจกรรมปัจฉิมนิเทศและฉลองความสำเร็จ นักศึกษา ป.บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู รุ่รรหัส 65
เผยแพร่เมื่อ 17 มีนาคม 2567